• โฮมเพจ
  • เกี่ยวกับเรา

boontermblog.com

ตุลาคม 26, 2020

ตำแหน่งและเงินเดือนของข้าราชการพลเรือน

ในอดีต ข้าราชการพลเรือนมีระดับตำแหน่งหรือ “ซี” ทั้งหมด 11 ระดับ เริ่มจาก ซี 1 ไล่ขึ้นสู่ระดับสูงสุดคือ ซี 11 แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมาใช้ระบบตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ ประเภทบริหาร อำนวยการ วิชาการ และทั่วไป

ส่วนหนึ่งของตำแหน่งในกลุ่มประเภทวิชาการและทั่วไป เป็นตำแหน่งที่ข้าราชการภายในหน่วยงานได้รับการเลื่อนขั้นขึ้นมา ทั้งนี้ กติกาการพิจารณาเลื่อนขั้นของแต่ละหน่วยงาน มีความยากง่ายแตกต่างกันไป คล้ายกับเกมออนไลน์ในเว็บไซต์ 188bet ซึ่งมีให้เลือกทั้งเกมระดับพื้นฐาน และเกมที่ซับซ้อนเล่นยาก

สำหรับข้าราชการทั้ง 4 ประเภท แบ่งเป็นระดับต่าง ๆ ดังนี้

ประเภทบริหารและอำนวยการ

ทั้ง 2 ประเภท มีข้าราชการ 2 ระดับ คือ

  • ระดับต้น
  • ระดับสูง

ประเภทวิชาการ

ประกอบด้วยข้าราชการ 5 ระดับ คือ

  • ระดับปฏิบัติการ
  • ชำนาญการ
  • ชำนาญการพิเศษ
  • เชี่ยวชาญ
  • ทรงคุณวุฒิ

ประเภททั่วไป

ประกอบด้วยข้าราชการ 4 ระดับ คือ

  • ระดับปฏิบัติงาน
  • ชำนาญงาน
  • อาวุโส
  • ทักษะพิเศษ

อัตราเงินเดือน

สำหรับอัตราเงินเดือนข้าราชการ ระดับต่ำสุดและสูงสุด ในแต่ละประเภท มีดังนี้

ประเภททั่วไป

1. ปฏิบัติงานระดับต้น 4,870-15,210 บาท ระดับสูง 15,220-21,010 บาท

2. ทักษะพิเศษระดับต้น 48,220-58,630 บาท ระดับสูง 58,640-69,040 บาท

ประเภทวิชาการ

1. ปฏิบัติการระดับต้น 8,340-20,950 บาท ระดับสูง 20,960-26,900 บาท

2. ทรงคุณวุฒิระดับต้น 43,810-60,830 บาท ระดับสูง 60,840-76,800 บาท

ประเภทอำนวยการ

1. ระดับต้นส่วนล่าง 26,660-43,080 บาท ส่วนบน 43,090-59,500 บาท

2. ระดับสูงส่วนล่าง 32,850-52,320 บาท ส่วนบน 52,330-70,360 บาท

ประเภทบริหาร

1. ระดับต้นส่วนล่าง 51,140-62,730 บาท ส่วนบน 62,740-74,320 บาท

2. ระดับสูงส่วนล่าง 56,380-69,910 บาท ส่วนบน 69,920-76,800 บาท

Article by admin / การสอบราชการ

เรื่องล่าสุด

  • ตำแหน่งและเงินเดือนของข้าราชการพลเรือน
  • การสอบเข้ารับราชการ ทำอย่างไรให้ได้งาน
  • สาระน่ารู้เกี่ยวกับราชการในพระองค์
  • สาระน่าสนใจเกี่ยวกับราชการส่วนภูมิภาค
  • สาระน่ารู้เกี่ยวกับราชการส่วนท้องถิ่น

Copyright boontermblog.com © 2023