การคัดเลือกบุคลากรเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ มีวิธีหลักเพียงวิธีเดียวคือการสอบ ส่วนใหญ่จะดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) แต่บางกรณี สำนักงาน ก.พ. ก็มอบอำนาจให้กรมต้นสังกัดเป็นผู้ดำเนินการ โดยการสอบแบ่งเป็น 3 ภาค ได้แก่ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง และภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง
การสอบแข่งขันเพื่อบรรจุเข้าข้าราชการ หลายคนเชื่อว่าเป็นกิจกรรมที่มีสัดส่วนของดวงเข้าไปเกี่ยวข้องระดับหนึ่ง คล้ายกับการเข้าเว็บไซต์ 188BET Asia และเลือกเล่นเกมเสี่ยงดวงว่าจะชนะหรือแพ้ แน่นอนว่า ความรู้ความสามารถเป็นต้นทุนสำคัญของผู้สอบ แต่บางครั้งก็มีเหตุการณ์ที่ชวนให้เชื่อว่า ความโชคดีหรือดวงมีส่วนเสริมช่วยให้สอบผ่าน
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสอบแข่งขัน
สำหรับผู้มีสิทธิสมัครสอบแข่งขัน นอกจากต้องมีคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง ตรงตามข้อกำหนดของตำแหน่งที่จะสอบบรรจุแล้ว ยังต้องมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ด้วย ได้แก่
- มีสัญชาติไทย
- มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์
- เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และไม่มีลักษณะต้องห้าม
ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้าม มีหลายอย่างด้วยกัน ได้แก่
1. เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
2. เป็นเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
3. เป็นคนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต หรือเป็นโรคตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.
4. เป็นบุคคลล้มละลาย
5. เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักราชการ หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
6. เป็นผู้เคยรับโทษจำคุกจากการกระทำความผิดทางอาญา
7. เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งหน่วยงานอื่นของรัฐ
8. เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี จนเป็นที่รังเกียจของสังคม